กระเป๋าผ้า600D ไม่เป็นปริศนาอีกต่อไป
กระเป๋าผ้า600D ไม่เป็นปริศนาอีกต่อไป
Blog Article
กระเป๋าที่ผลิตจากผ้าโพลีเอสเตอร์ 100% ซึ่งคำว่า 600D คือ รหัสของผ้าและความหนาแน่ของการถักทอ ตัว D ย่อมาจาก Denier เดเนียร์ แสดงถึงน้ำหนักและเส้นใยในทักถักทอ สำหรับผ้าประเภทกลุ่มตัว D ก็มีอยู่หลายประเภท เช่น 210D 230D 300D 400D 420D 600D 800D 840D 890D 900D 1680D 1800D ซึ่งจะเห็นได้ว่าจะมีตัวเลขน้อยไปหามาก ซึ่งตัวที่มีจำนวนเดเนียร์ที่ต่ำก็จะมีน้ำหนักและความหนาแน่ของเส้นด้ายน้อยและเบา เช่น ผ้า 210D ซึ่งเป็นผ้าที่บางนิยมนำไปทำผ้าซับในและกระเป๋าผ้าพับเก็บได้เพราะเนื้อผ้าเบาและบางจึงเป็นที่นิยม
อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *
กระเป๋าช็อปปิ้งและกระเป๋าใส่ของส่วนตัว
เกี่ยวกับโรงงานผลิตกระเป๋าผ้าราคาถูก
โพลีเอสเตอร์มักจะถูกเข้าใจว่าเป็นวัสดุของผ้า 600D เท่านั้นซึ่งจริงๆแล้ว โพลีเอสเตอร์สามารถนำไปผลิตผ้าได้หลายรูปแบบเช่นแคนวาส ผ้ากระสอบโพลีเอสเตอร์ ผ้าร่ม และผ้าอื่นๆอีกมากมายในท้องตลาดที่ใช้โพลีเอสเตอร์ในการผลิตผ้า ส่วน 600D คำว่า 600D เป็นแค่หน่วยวัด น้ำหนักและความหนาแน่นของเส้นใยผ้า ดังนั้น 600D สามารถใช้กับไนลอน ซึ่งเป็นผ้าสังเคราะห์อีกชนิดหนึ่งได้เช่นกัน
ผ้า600D เป็นผ้าที่สามารถกันน้ำกันลมได้ ทนทานต่อการฉีกขาด ทนต่อการขีดข่วน
ผ้าร่มสะท้อนน้ำเป็นผ้าที่ทำขึ้นมาจากเส้นใยพลาสติก มีความแข็งแรงฉีกขาดยาก และรับน้ำหนักได้เยอะ เหมาะอย่างมากในการผลิตกระเป๋าผ้าบริจาค หรือ ถุงยังชีพ และนิยมทำเป็นกระเป๋าผ้าหูรูดที่เอาไว้เก็บเสื้อผ้าที่ใช้แล้ว หรือเอาไว้ใส่ของในการเดินทาง
เริ่มงานผลิตกระเป๋าผ้าพร้อมสกรีนโลโก้
จัดส่ง พร้อมชำระค่าของส่วนที่เหลือ
ความรู้สึกเมื่อใช้มือสัมผัส สากและแข็งทื่อ
เนื้อผ้าสำหรับทำกระเป๋าผ้าแบบรักษ์โลก ลดโลกร้อน เนื่องจากกระบวนการผลิตที่สร้างมลพิษน้อยที่สุด ไม่ผ่านการฟอกสี ทำให้เนื้อผ้ามีลักษณะแข็งกว่าผ้าแคนวาส
เป็นเนื้อผ้าที่ผลิตขึ้นมาโดยไม่มีการผ่านการฟอกสี ทำให้ตัวเนื้อผ้ามีเพียงสีเดียว คือ ออกมาเป็นสีธรรมชาติ หรือสีดิบเท่านั้น
โดยส่วนใหญ่แล้วลูกค้าที่ ผลิตกระเป๋าผ้า สปันบอนด์นั้นจะนิยมเอาไปใช้เป็นกระเป๋าผ้าแจกในงานสัมมนา หรืองานประชุมต่างๆ เพื่อเอาไว้ใช้ใส่เอกสาร หรือแจกเป็นของที่ระลึกให้กับลูกค้า
เส้นใยของผ้า กระเป๋าผ้า600D 600D นั้นมีความเรียบเนียนจัดเรียงตัวกันอย่างสม่ำเสมอ แม้จะมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นแต่หากใช้เครื่องมือเช่นกล้องจุลทรรศน์ส่องดูจะเห็นได้อย่างชัดเจน